เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจดหมายเหตุ
เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจดหมายเหตุ
การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จดหมายเหตุ เป็นกิจกรรมนำร่องด้านการสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจดหมายเหตุจัดขึ้นระหว่างเดือนเมษายน – สิงหาคม ๒๕๕๙ เพื่อประสานเชื่อมโยง บุคคล กลุ่ม องค์กรที่สนใจและตั้งใจทำงานด้านการจดหมายเหตุ ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตั้งโจทย์ปัญหาสำหรับการทำงาน เรียนรู้กระบวนการทำงาน หาประเด็นเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนาและขยายผลทางด้านการจดหมายเหตุให้ก้าวหน้า เพื่อเป็นพื้นฐานในการต่อยอดและขยายผลให้การจดหมายเหตุเกิดความเข้มแข็งยั่งยืน กิจกรรมที่ผ่านมา ได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถักทอเป็นเครือข่ายแล้ว ในหัวข้อต่างๆ
ครั้งที่ ๑ หัวข้อ การจดหมายเหตุกับการเริ่มต้นสู่ความสมบูรณ์แบบ
ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ผู้เข้าร่วมจำนวน ๓๐ คน จาก ๑๑ องค์กร
ภาคเช้า
กรณีศึกษางานจดหมายเหตุ ๔ องค์กร
๑. หอสมุด จดหมายเหตุ และพิพิธภัณฑ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ดาวน์โหลด_1) โดย คุณวิยะดา สุธีรภัทรานนท์ ผู้บริหารทีม (ควบ) ทีมวิเคราะห์และกลั่นกรองจดหมายเหตุและคุณณัฐยา อรพินท์พิศุทธิ์ บรรณารักษ์อาวุโส ทีมวิเคราะห์และกลั่นกรองจดหมายเหตุ
๒. บ้านพิพิธภัณฑ์ โดยคุณเอนก นาวิกมูลผู้ก่อตั้งบ้านพิพิธภัณฑ์
๓. หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ (ดาวน์โหลด_2) โดย คุณกิตติศักดิ์ รุ่งเรืองวัฒนชัย ผู้จัดการหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
ภาคบ่าย
บรรยายเกี่ยวกับงานจดหมายเหตุ และการจัดการเอกสาร
โดย คุณกิตติศักดิ์ รุ่งเรืองวัฒนชัย ผู้จัดการหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ และ คุณศิริเพ็ญ น้าสกุล กรรมการวิชาการ สมาคมจดหมายเหตุไทย และผู้บริหารทีมทีมบริหารงานเอกสาร ส่วนจดหมายเหตุและบริหารงานเอกสาร
เอกสารประกอบการบรรยาย
- การตรวจประเมินภายในการจัดการเอกสารและจดหมายเหตุขององค์กร (ดาวน์โหลด_3)
- Local Government Organization_Evaluation Guidelines (ดาวน์โหลด_4)
- Archival Management Principles and Techniques (ดาวน์โหลด_5)
- แนวทางการจัดโครงสร้างหมวดหมู่เอกสาร ด้วยวิธีวิเคราะห์กระบวนการทำงาน (ดาวน์โหลด_6)
สรุปบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ดาวน์โหลด_7)
วีดีทัศน์ ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓ ตอนที่ ๔ ตอนที่ ๕
ครั้งที่ ๒ หัวข้อ งานอนุรักษ์จดหมายเหตุและวัตถุพิพิธภัณฑ์
ณ มูลนิธิพระดาบส (ตรงข้ามหอสมุดแห่งชาติ) มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๓๖ คน จาก ๑๙ องค์กร
ภาคเช้า
การอนุรักษ์เอกสารและวัตถุจดหมายเหตุและกรณีศึกษาการอนุรักษ์ทรัพยากรจดหมายเหตุ (ดาวน์โหลด_1) / (ดาวน์โหลด_2)
โดย คุณพวงพร ศรีสมบูรณ์ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการ กลุ่มวิทยาศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ภาคบ่าย
การอนุรักษ์และดูแลรักษาฟิล์มภาพยนตร์ (ดาวน์โหลด_3)
โดย คุณชลิดา เอื้อบำรุงจิต รองผู้อำนวยการหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)
การอนุรักษ์และดูแลรักษาสื่อโสตทัศน์ (ดาวน์โหลด_4) / (ดาวน์โหลด_5)
โดย คุณกรรณิการ์ ชีวภักดี ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุกรมประชาสัมพันธ์
และ คุณภวริศา นิภาวัฒนพงศ์ หัวหน้าอนุรักษ์สื่อโสตทัศน์ พิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ กรมประชาสัมพันธ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรจดหมายเหตุ (ดาวน์โหลด_6)
โดย คุณบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริการความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
สรุปบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ดาวน์โหลด_7)
ภาพ
วีดีทัศน์ ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓ ตอนที่ ๔ ตอนที่ ๕ ตอนที่ ๖ ตอนที่ ๗ ตอนที่ ๘ ตอนที่ ๙ ตอนที่ ๑๐
ครั้งที่ ๓ หัวข้อ IT กับงานจดหมายเหตุและวัตถุพิพิธภัณฑ์
ณ สภากาชาดไทย มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๕๑ คน จาก ๒๓ องค์กร
ภาคเช้า
ขั้นตอนการทำงาน ข้อควรตระหนัก และแนวทางการทำงานร่วมกันในอนาคต ของวงการจดหมายเหตุไทย (ดาวน์โหลด_1)
โดย คุณสิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี นักวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
วัฒนธรรมดิจิทัล (ดาวน์โหลด_2)
โดย คุณวัชชิรา บูรณสิงห์ ผู้ช่วยวิจัย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
ภาคบ่าย
กรณีศึกษา การจัดเก็บฐานข้อมูลจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ (ดาวน์โหลด_3)/ (ดาวน์โหลด_4)
โดย คุณกรุณพล พานิช หัวหน้ากลุ่มงานเผยแผ่และคุณสมรักษ์ นุ่มนาค เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ (ดาวน์โหลด_5)
โดย คุณบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริการความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
สรุปบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ดาวน์โหลด_6)
วีดีทัศน์ ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓ ตอนที่ ๔ ตอนที่ ๕ ตอนที่ ๖
ครั้งที่ ๔ หัวข้อ พิพิธภัณฑ์และจดหมายเหตุเอกชน
ณ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สำนักงานใหญ่ มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๔๔ คน จาก ๑๘ องค์กร
ภาคเช้า
กรณีศึกษาชุดความคิดจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์เชิงพื้นที่ (ดาวน์โหลด_1)
โดย คุณชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ นักวิชาการอิสระ
ชวนแลกเปลี่ยน โดย คุณศิริเพ็ญ น้าสกุล กรรมการวิชาการ สมาคมจดหมายเหตุไทย
และผู้บริหารทีม ทีมบริหารงานเอกสาร ส่วนจดหมายเหตุและบริหารงานเอกสาร
การริเริ่มก่อตั้งและบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เชิงประเด็น : กรณีศึกษาพิพิธภัณฑสถานเครื่องถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (ดาวน์โหลด_2)
โดย อาจารย์บุรินทร์ สิงห์โตอาจ เจ้าหน้าที่การศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชวนแลกเปลี่ยน โดย นพ.บัญชา พงษ์พานิช ผู้อำนวยการหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
ภาคบ่าย
จดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์เชิงบุคคล : กรณีศึกษาจดหมายเหตุ ศ.ระพี สาคริก
โดย คุณกลศ หิรัญบูรณะ เลขานุการ ศ.ระพี สาคริก
ชวนแลกเปลี่ยนโดย คุณกิตติศักดิ์ รุ่งเรืองวัฒนชัย ผู้จัดการหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
สรุปบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ดาวน์โหลด_3)
วีดีทัศน์ ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓ ตอนที่ ๔ ตอนที่ ๕ ตอนที่ ๖ ตอนที่ ๗ ตอนที่ ๘
ครั้งที่ ๕ หัวข้อ ประวัติศาสตร์บอกเล่า
ณ ธนาคารแห่งประเทศไทย มีผู้เข้าร่วมจำนวน ๘๔ คน จาก ๒๐ องค์กร
ภาคเช้า
ทำไมต้องประวัติศาสตร์จากคำบอกเล่า (ดาวน์โหลด_1)
โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ปิยนาถ บุนนาค ราชบัณฑิตประเภทวิชาประวัติศาสตร์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ สํานักธรรมศาสตร์และการเมือง
ชวนแลกเปลี่ยนโดย คุณศิริเพ็ญ น้าสกุล กรรมการวิชาการ สมาคมจดหมายเหตุไทยและผู้บริหารทีม ทีมบริหารงานเอกสาร ส่วนจดหมายเหตุและบริหารงานเอกสาร
ประสบการณ์ประวัติศาสตร์บอกเล่าจากการปฏิบัติจริง (ดาวน์โหลด_2)
โดย คุณสุมัยวดี เมฆสุต ผู้บริหารทีม (ควบ) ทีมวิชาการพิพิธภัณฑ์ หอสมุด จดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย
ชวนแลกเปลี่ยนโดย คุณสมบัติ ทารัก เจ้าหน้าที่งานจดหมายเหตุ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
สรุปบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ดาวน์โหลด_3)
วีดีทัศน์
แจกเครดิตฟรีคาสิโนออนไลน์ soccerjqk44binjqk41casinoslotxoเครดิตฟรี